ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา FUNDAMENTALS EXPLAINED

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

Blog Article

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

การขาดแคลนครูผู้สอนเป็นปัญหาที่สะท้อนให้เห็นถึงระบบโครงสร้างในการผลิตครู เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางการศึกษา เนื่องจากอัตราการแข่งขันในการสอบบรรจุข้าราชการครูที่สูงมาก ในขณะที่อัตราการรับเข้าบรรจุเองก็น้อยมาก ส่งผลให้ขาดแคลนครูผู้สอนในบางรายวิชาอยู่เป็นจำนวนมาก

ในยุคที่เด็กๆ ถูกซ้ำเติมจากวิกฤตรอบด้าน ทั้งความเหลื่อมล้ำ ปัญหาเศรษฐกิจ วิกฤตโรคระบาดที่ทำให้หลายครอบครัวมีรายได้ลดลงหรือถูกเลิกจ้าง และยังต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ซึ่งส่งผลกระทบมาสู่โอกาสทางการศึกษาของเด็กๆ หลายครอบครัวมีค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของเด็กเพิ่มขึ้น เช่น ค่าใช้จ่ายการเรียนออนไลน์ เนื่องจากไม่ได้มีความพร้อมในการจ่ายค่าอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ ค่าอินเทอร์เน็ต และค่าอุปโภคบริโภคอื่นๆ ถึงแม้ว่า ณ ปัจจุบันโรงเรียนกลับมาเปิดตามปกติแล้วก็ตาม แต่พวกเขาก็ยังจะต้องเจอกับภาวะเงินเฟ้อ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ข้าวของแพง ซึ่งดูเหมือนค่าใช้จ่ายยิ่งเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม

ปัญหาภาษาไทยที่ไม่ได้ถูกใช้อย่างต่อเนื่อง

นอกจากนี้ เพื่อให้ได้ผลการสอบที่น่าพึงพอใจ ทำให้นักเรียน หรือผู้ปกครองหลายคน จำเป็นต้องเสียเงินจำนวนมากเพื่อเรียนพิเศษเพิ่มเติม สิ่งนี้เองทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา สืบเนื่องจากความไม่เท่าเทียมกันในด้านฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว จึงทำให้การเข้าถึงการศึกษาของนักเรียนไทยแตกต่างกัน 

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

บทเพลงจาก “พลังของผีเสื้อ”เรื่องราวดนตรีเปลี่ยนชีวิตและความเชื่อว่า “โลกใบนี้ยังมีพื้นที่เรียนรู้สำหรับเด็กทุกคน”

สามารถขอรับคำปรึกษา และหากโครงการที่นำเสนอมีศักยภาพ จะมีโอกาสได้รับเงินทุนทำต่อ และ ได้รับการสนับสนุนการทำโครงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น information / know-how / assessment / economical / analysis/ partnership

ความยากจนที่ (อาจจะ) แพร่กระจายทุกหย่อมหญ้า

หลายคน ที่รอโอกาสการศึกษาต่อที่เหมาะสมการทำงาน และไม่รบกวนภาระงานหลักที่ต้องรับผิดชอบ และที่สำคัญแก้ปัญหาการพัฒนาการเรียนการสอนของครูตชด. ได้ตรงจุด สิ่งที่ได้ไปเรียนรู้มาจากที่ มรภ.รำไพพรรณี สามารถนำมาต่อยอดกับเพื่อนครูที่โรงเรียน พัฒนานักเรียน พัฒนาหลักสูตร มีแผนการสอนที่ดี สามารถกำหนดตัวชี้วัดและประเมินผลได้ตามหลักวิชาการ”  .

ครูนก จ.ส.ต.สวัสดิ์ ชัยณรงค์ หัวหน้าสาระวิชาสอนวิชาสังคม ประสบการณ์เรียนรู้การเรียนที่ได้รับจากครูตชด. ในสมัยเด็กเป็นส่วนประกอบที่ทำให้ห้องเรียนไม่เน้นการเรียนในห้อง ครูนกจึงออกแบบให้นักเรียนออกไปนอกห้องเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม โดยใช้ฐานทุนของโรงเรียนและชุมชน เช่น สำนักสงฆ์ ที่ครูนกชวนเด็ก ๆ ไปเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับการสอนในห้องเรียนเพื่อให้เห็นความหลากหลายของกิจกรรม และเรียนรู้พื้นถิ่นมาออกแบบกิจกรรมและสอดแทรกเข้าไป เพื่อสร้างความตระหนักคุณค่าของสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นและ วัฒนธรรมชุมชน อาชีพชุมชนที่แต่เดิมในพื้นที่ทำแร่ดีบุกที่เป็นอาชีพเสริมจากการทำสวนปาล์มน้ำมันและสวนทุเรียน

ฐานะทางสังคม และสภาพเศรษฐกิจที่แตกต่างกันทำให้เกิดปัญหาความไม่เท่าเทียมทางการศึกษา เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจส่งผลต่อความสามารถของครอบครัวในการสนับสนุน หรือส่งเสริมด้านการเรียนของบุตรหลานได้มากน้อยแตกต่างกันไป อาจกล่าวได้ว่าครอบครัวใดที่มีฐานะทางสังคม และสภาพทางเศรฐกิจที่ดี ย่อมมีตัวเลือกในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากกว่า ในขณะที่ครอบครัวที่มีสภาพคล่องทางเศรษฐกิจที่น้อยลงมา อาจทำให้โอกาสทางการศึกษาถูกจำกัดให้น้อยลงตามไปด้วย 

Report this page